1 - 2 of 23 Articles
อเมริกากำลังเผชิญความท้าทายในตำแหน่งงานช่างเทคนิค นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และวิศวกร คาดว่าในปี 2030 อุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์จะขาดแคลนแรงงาน 67,000 คน และในภาคส่วนอื่นจะขาดแคลนมากถึง 1.4 ล้านคน
โรงงานจีนกำลังเจอปัญหาขาดแคลนแรงงาน Blue collar อย่างรุนแรง ท่ามกลางคอขวดทางเทคโนโลยีที่ถูกกีดกันจากชาติตะวันตก นี่จะเป็นความท้าทายในการเดินสู่เป้าหมาย Made in China 2025 ของอุตสาหกรรมการผลิตจีน
คนรุ่นใหม่ไม่อยากทำงานในภาคการผลิต ทำให้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานยังเป็นความความท้าทายใหญ่ ซึ่งการใช้ Automation จะเป็นกุญแจดอกสำคัญ และเปลี่ยนภาพลักษณ์ให้เป็นงานทันสมัย มีความก้าวหน้า
บริษัทในอเมริกาเหนือมีการลงทุนหุ่นยนต์สูงสุดเป็นประวัติการณ์ แต่ผลิตภาพกลับลดลง มาดูกันว่าเกิดอะไรขึ้นกับสหรัฐฯ
Cobots หุ่นยนต์เพื่อนร่วมงานที่ใช้ง่าย ทำงานได้หลากหลาย ช่วยลดจำนวนคนในสายการผลิต ได้รับความสนใจอย่างมากในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด ทำให้ยอดขายโคบอทส์ของหลายแบรนด์ในช่วงปลายปีที่ผ่านมา เพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจน
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ บุกเบิกการพัฒนา “Vegebot” หุ่นยนต์เก็บเกี่ยวพืชผลการเกษตร ปัจจุบันสามารถใช้เก็บหัวผักกาดในแปลงเกษตรได้แล้ว
ผู้ผลิตเครื่องดื่มอย่าง Ito En และ Kirin Brewery ต่างประสบปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบ และมีความต้องการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบ มาดูว่าทั้งสองค่ายแก้ปัญหาอย่างไร
ขบวนรถบรรทุกอัตโนมัติ เชื่อมต่อเชื่อมรถบรรทุก 2 คันขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถวิ่งเป็นขบวนได้โดยอัตโนมัติตลอดการเดินทาง คือแนวทางที่กำลังได้รับความสนใจจากค่ายรถในขณะนี้
เกาหลีใต้ เฉือน สิงคโปร์ ครองแชมป์ประเทศที่มีการใช้แรงงานหุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรมสูงที่สุดในโลก หลังสมาพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ (IFR) ของเยอรมนี เปิดผลสำรวจ “World Robotics Report 2018…
AIST พัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ “HRP-5P” ที่ออกแบบเพื่อทดแทนผู้ใช้แรงงานโดยเฉพาะ
สำนักงานคณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นเล็งยกระดับซัพพลายเชนในองค์รวม ทั้งการผลิต การขนส่ง และการบริโภค เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่ส่งผลถึงความมั่นคงของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
METI เร่งการนำ AI มาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศญี่ปุ่นให้เกิดขึ้นเร็วยิ่งขึ้น ตั้งเป้าพัฒนาให้พร้อมใช้จริงในระยะเวลา 3-5 ปี
ผู้ผลิตไต้หวันทุ่มงบประมาณในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและวิจัย เพื่อพัฒนาโรงงานตนเข้าสู่ยุคระบบอัตโนมัติ รองรับ Industry 4.0
ปัญหาแรงงานย่อมถูกหาทางแก้ไข หนึ่งในนั้นคือการใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติเข้ามาช่วย ด้วยเหตุนี้ทำให้ผู้ผลิตชิ้นส่วน “เซอร์โวมอเตอร์” จึงพากันขยายการผลิต
NIKKO KINZOKU ผู้ผลิตเหล็กหล่อทนความร้อนสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในญี่ปุ่น ได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตด้วยการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงาน
Denso Japan เตรียมจำหน่าย Factory Automation ภายในปีนี้ โดยออกแบบให้ใช้งานร่วมกับ Picking Robot สายพานลำเลียง และหุ่นยนต์ลำเลียง เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนบุคลากรนั่นเอง
JARA เผย ยอดสั่งซื้อหุ่นยนต์ญี่ปุ่น ปี 2017 มีมูลค่าอยู่ที่ 944,700 ล้านเยน เพิ่มขึ้นจากปี 2016 ถึง 27.8% คาด ยอดสั่งซื้อสูงเพราะความน่าเชื่อถือของหุ่นยนต์ค่ายญี่ปุ่น
ความต้องการเซมิคอนดัคเตอร์ที่พุ่งทะยานสูงขึ้น ทำให้ยอดขายรวมในปี 2017 สูงขึ้นกว่าปี 2016 ถึง 37% ด้วยนวัตกรรมอย่าง IoT ทำให้พัฒนาเซมิคอนดัคเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามใน…
ขณะที่โตโยต้ายังคงพยายามอย่างหนักเรื่องต้นทุนชิ้นส่วน บริษัทในเครือกลับมองข้ามไปปี 2025 เพื่อหาทางรับมือกับสภาวะขาดแคลนแรงงานในอนาคต
แรงงานคนยังจำเป็นอยู่หรือ เมื่อไทยจะก้าวเข้าสู่ยุค 4.0 งานแข่งขันฝีมือแรงงานแห่งชาติไม่ได้มีแค่ต้องการโชว์ศักยภาพคนไทย แต่สามารถดึงดูดนักลงทุนให้มาลงทุนกับภาคอุตฯ ไทยได้